รายงานบันทึกหลังสอน ครั้งที่ 15 วันที่ 23 สิงหาคม
ณ กศน.ตำบลทุ่งฝาย
ณ กศน.ตำบลทุ่งฝาย
เวลา 08.30-1ุ6.00 น. ครูกศน.ตำบลทุ่งฝายได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนนักศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย ดังนี้
1. ระดับประถม มีจำนวนนักศึกษาทั้งหมด 2 คน มาเรียน 2 คน
2. ระดับม.ปลาย มีนักศึกษาทั้งหมด 57 คน มาเรียน 40 คน ขาดเรียน 17 คนโดยครูได้จัดกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบ ONIE MODEL ดังตัวอย่าง
ก่อนจัดการเรียนการสอนครูได้ให้ผู้เรียนได้ทำความสะอาดและถอนหญ้าหน้าอาคารเรียนส่วนผู้เรียนที่เหลือให้ไปดูแลแปลงผักของตนเอง รดน้ำ พรวนใส่ปุ๋ย ใส่ปุ๋ยคอก ถอนหญ้าคลุมต้นไม้ เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักหน้าที่ของตนเองมีความรับผิดชอบมีจิตสาธารณะในเรื่องส่วนรวมมากว่าส่วนตนทุกเช้าผู้เรียนที่มาเรียนก่อนจะช่วยกันทำความสะอาดห้องเรียน กวาดลานหน้ากศน.ตำล และอื่นๆามที่กล่าวมาข้างตน โดยผู้เรียนทุกคนยึดเป็นกิจวัตรประจำที่ไม่มีใครต้องเกี่ยงกันทำงานคะ
1. ระดับประถม มีจำนวนนักศึกษาทั้งหมด 2 คน มาเรียน 2 คน
2. ระดับม.ปลาย มีนักศึกษาทั้งหมด 57 คน มาเรียน 40 คน ขาดเรียน 17 คนโดยครูได้จัดกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบ ONIE MODEL ดังตัวอย่าง
ก่อนจัดการเรียนการสอนครูได้ให้ผู้เรียนได้ทำความสะอาดและถอนหญ้าหน้าอาคารเรียนส่วนผู้เรียนที่เหลือให้ไปดูแลแปลงผักของตนเอง รดน้ำ พรวนใส่ปุ๋ย ใส่ปุ๋ยคอก ถอนหญ้าคลุมต้นไม้ เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักหน้าที่ของตนเองมีความรับผิดชอบมีจิตสาธารณะในเรื่องส่วนรวมมากว่าส่วนตนทุกเช้าผู้เรียนที่มาเรียนก่อนจะช่วยกันทำความสะอาดห้องเรียน กวาดลานหน้ากศน.ตำล และอื่นๆามที่กล่าวมาข้างตน โดยผู้เรียนทุกคนยึดเป็นกิจวัตรประจำที่ไม่มีใครต้องเกี่ยงกันทำงานคะ
ช่วยกันทำความสะอาดอาคารเรียน |
ดูแปลงผักของตนเอง |
1)ขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้ในวิชาบังคับ
ยกตัวอย่าง วิชา รายวิชาทักษะการขยายอาชีพ (อช31002) ระดับ ม.ปลาย ในหัวข้อ การจัดการการตลาด
- การนำเข้าสู่บทเรียน
2.ครูและผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็นเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถึงการจัดการตลาดที่ดีของอาชีพของผู้เรียนที่ประสบความสำเร็จ
1.ครูและผู้เรียนร่วมกับสนทนาเกี่ยวกับการการตลาด การประชาสัมพันธ์ ในอาชีพของผู้เรียนแต่ละคน
|
- ครูได้สอนอธิบายเนื้อหาและแบ่งกลุ่มทำใบงานตามหัวข้อ ดังนี้
1.การจัดการการตลาด
-การโฆษณา
-การประชาสัมพันธ์
-การวิจัยตลาด
-การส่งเสริมการขาย
-การทำข้อมูลฐานลูกค้า
-การกระจายสินค้า
|
- ผู้เรียนส่งตัวแทนอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
- ครูและผู้เรียนสรุปเนื้อหาร่วมกันและครูได้เสริมเนื้อหาที่ขาดหายไปให้สมบูรณ์เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจในเนื้อหาเดียวกัน
- ครูได้มอบหมายกรต.ในวิชาบังคับวิชาอื่นๆที่ผู้เรียนได้ลงทะเบียนเรียน
2) ปัญหา อุปสรรค การพบกลุ่มครั้งนี้
ปัญหาผู้เรียนใหม่ยังไม่เข้าใจขั้นตอนการทำโครงงาน
2) ปัญหา อุปสรรค การพบกลุ่มครั้งนี้
ปัญหาผู้เรียนใหม่ยังไม่เข้าใจขั้นตอนการทำโครงงาน
ครูได้อธิบายขั้นตอนการทำโครงงานให้กับนักศึกษาใหม่และนักศึกษาเก่าโดยการยกตัวอย่างรูปเล่มโครงงานและชิ้นงานของผู้เรียนในเทอมก่อนมาให้ผู้เรียนได้ดูและศึกษารูปเล่มโครงงานเก่าหลังจากนั้นได้นัดหมายการส่งงานทั้งหมดในวันอาทิตย์ที่ 6 ทุกอย่าง ได้แก่ แบบกรต. แฟ้มสะสมงาน รายงานวิชาเลือก โครงงานรูปเล่ม/ชิ้นงาน เมื่อได้ข้อตกลงในการส่งงานแล้วครูได้มอบหมายงานในช่วงบ่ายให้ผู้เรียนไปศึกษาเรียนรู้การจัดทำโครรงานของตนเองและรายงานผลผ่านไลน์หรือเฟสกลุ่มมาให้ครูพิจารณาอนุมัติโครงงาน
สรุปกิจกรรมการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับ 3 ห่วง 2 เงื่อนไขตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้
3 ห่วง
1. ความพอประมาณ คือ ผู้เรียนได้เรียนรู้ในเรื่องการรู้จักตนเองว่าตนเองมีความรู้ความสามารถในด้านไหนในเรื่องการจัดทำโครงงานในรายวิชาต่างๆเป็นการศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อจัดทำเป็นรูปเล่มโครงงานและชิ้นงานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของตนเองอย่างแท้จริง
2. ความมีเหตุผล คือ ผู้เรียนได้วิเคราะห์ตนเองว่าตนเองควรจะทำสิ่งใดก่อนหลังเพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการเรียนของตนเองในเรื่องการการจัดทำโครงงานและชิ้นงาน แฟ้มสะสมงาน และสมุดบันทึกกรต.ซึ่งเป็นงานที่ทุกคนต้องส่งครูก่อนสอบปลายภาคผู้เรียนจึงได้ซึมซับความรับผิดชอบในหน้าของตนเองโดยผ่านการเรียนรู้ภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียนคะ
3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดี ผู้เรียนได้เรียนรู้กันทำงานเป็นกลุ่มไม่ว่าจะเป็นการทำโครงงานเป็นกลุ่มต้องมีการปรึกษาหารือการแบ่งงานกันทำภายในกลุ่มหรือกิจกรรมการปลูกพืชผักสวนครัวในสวนเศรษฐกิจพอเพียงของกศน.ตำบลทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้การปลูกผักเอาไว้ใช้กินเองในครัวเรือนโดยไม่ใช่สารเคมีสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันเช่น ปลูกพืชผักสวนครัวไว้เพื่อบริโภคในครัวเรือนหรือสามารถปลูกขายเป็นอาชีพก็ได้คะ
สรุปกิจกรรมการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับ 3 ห่วง 2 เงื่อนไขตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้
3 ห่วง
1. ความพอประมาณ คือ ผู้เรียนได้เรียนรู้ในเรื่องการรู้จักตนเองว่าตนเองมีความรู้ความสามารถในด้านไหนในเรื่องการจัดทำโครงงานในรายวิชาต่างๆเป็นการศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อจัดทำเป็นรูปเล่มโครงงานและชิ้นงานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของตนเองอย่างแท้จริง
2. ความมีเหตุผล คือ ผู้เรียนได้วิเคราะห์ตนเองว่าตนเองควรจะทำสิ่งใดก่อนหลังเพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการเรียนของตนเองในเรื่องการการจัดทำโครงงานและชิ้นงาน แฟ้มสะสมงาน และสมุดบันทึกกรต.ซึ่งเป็นงานที่ทุกคนต้องส่งครูก่อนสอบปลายภาคผู้เรียนจึงได้ซึมซับความรับผิดชอบในหน้าของตนเองโดยผ่านการเรียนรู้ภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียนคะ
3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดี ผู้เรียนได้เรียนรู้กันทำงานเป็นกลุ่มไม่ว่าจะเป็นการทำโครงงานเป็นกลุ่มต้องมีการปรึกษาหารือการแบ่งงานกันทำภายในกลุ่มหรือกิจกรรมการปลูกพืชผักสวนครัวในสวนเศรษฐกิจพอเพียงของกศน.ตำบลทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้การปลูกผักเอาไว้ใช้กินเองในครัวเรือนโดยไม่ใช่สารเคมีสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันเช่น ปลูกพืชผักสวนครัวไว้เพื่อบริโภคในครัวเรือนหรือสามารถปลูกขายเป็นอาชีพก็ได้คะ
2 เงื่อนไข
- เงื่อนไขความรู้ คือ ผู้เรียนได้ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองด้วยการทำกรต.ที่ครูได้มอบหมาย การจัดทำรายงานรูปเล่มในรายวิชาเลือก และการจัดทำโครงงานในรายวิชาต่างๆเพื่อเพิ่มพูนความรู้นอกจากการที่ครูได้สอนไป- เงื่อนไขความมีคุณธรรม คือ ผู้เรียนได้เรียนรู้การทำงานเป็นกลุ่ม การแบ่งงานกันทำ การยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น ไม่เอาความคิดของตนเองเป็นใหญ่เหมือนการทำงานเดี่ยวผู้เรียนได้บริหารจัดการกันเองภายในกลุ่มครูเป็นแค่ที่ปรึกษาคอยแนะนำคะและในการทำกิจกรรมกลุ่มไม่มี
รูปภาพการเรียนการสอน
ครูอธิบายการทำโครรงาน |
ผู้เรียนปรึกษาการทำโครงานภายในกลุ่ม |
ครูได้ตรวจงานและมอบหมายกรต. |
เยี่ยมยอดค่ะ นำ 3 ห่วง2 เงื่อนไข มาเขียนในบันทึกหลังสอน เป็นตัวอย่างที่ดีมากๆ ค่ะ แนะนำเพื่อนๆ ด้วยนะคะ
ตอบลบเยี่ยมยอดค่ะ นำ 3 ห่วง2 เงื่อนไข มาเขียนในบันทึกหลังสอน เป็นตัวอย่างที่ดีมากๆ ค่ะ แนะนำเพื่อนๆ ด้วยนะคะ
ตอบลบรับทราบคะผอ.หนูรู้สึกว่าตั้งแต่ประเมินผ่านไปมันฝังอยู่หัวสมองแล้วคะ
ตอบลบรับทราบคะผอ.หนูรู้สึกว่าตั้งแต่ประเมินผ่านไปมันฝังอยู่หัวสมองแล้วคะ
ตอบลบยอดเยี่ยมค่ะ
ตอบลบยอดเยี่ยมค่ะ
ตอบลบ